Skip to content
ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Materials Engineering, KU)
  • ผู้สนใจเข้าศึกษา
  • นิสิตปัจจุบัน
  • นิสิตเก่า
  • บุคลากร
  • แบบฟอร์ม
  • แกลเลอรี่
  • ข้อร้องเรียน
  • เว็บบอร์ด
  • ผู้สนใจเข้าศึกษา
  • นิสิตปัจจุบัน
  • นิสิตเก่า
  • บุคลากร
  • แบบฟอร์ม
  • แกลเลอรี่
  • ข้อร้องเรียน
  • เว็บบอร์ด
  • เกี่ยวกับเรา
    • รู้จักวิศวกรรมวัสดุ
    • สารจากผู้บริหาร
    • ประวัติภาควิชา
    • วิสัยทัศน์และพันธกิจ
    • ความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ
    • บทความเกี่ยวกับวิศวกรรมวัสดุ
  • บุคลากร
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมวัสดุ (Undergraduate)
    • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเซมิคอนดักเตอร์ (Undergraduate)
    • ปริญญาโท (Master)
    • ปริญญาเอก (Doctorate)
  • งานวิจัย
    • Research Platform
    • ข่าววิจัย
    • รางวัลและประกาศเกียรติคุณ
    • กิตติกรรมประกาศภาควิชา
    • ปริญญานิพนธ์
  • ศูนย์นวัตกรรมวัสดุ
    • เกี่ยวกับเรา
    • สิ่งอำนวยความสะดวก
    • บริการด้านการวิจัย
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ติดต่อเรา
  • เกี่ยวกับเรา
    • รู้จักวิศวกรรมวัสดุ
    • สารจากผู้บริหาร
    • ประวัติภาควิชา
    • วิสัยทัศน์และพันธกิจ
    • ความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ
    • บทความเกี่ยวกับวิศวกรรมวัสดุ
  • บุคลากร
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมวัสดุ (Undergraduate)
    • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเซมิคอนดักเตอร์ (Undergraduate)
    • ปริญญาโท (Master)
    • ปริญญาเอก (Doctorate)
  • งานวิจัย
    • Research Platform
    • ข่าววิจัย
    • รางวัลและประกาศเกียรติคุณ
    • กิตติกรรมประกาศภาควิชา
    • ปริญญานิพนธ์
  • ศูนย์นวัตกรรมวัสดุ
    • เกี่ยวกับเรา
    • สิ่งอำนวยความสะดวก
    • บริการด้านการวิจัย
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ติดต่อเรา

บทความเกี่ยวกับวิศวกรรมวัสดุ

  1. หน้าหลัก
  2. »
  3. บทความเกี่ยวกับวิศวกรรมวัสดุ
  4. »
  5. พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง

พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง

  • 4 กุมภาพันธ์ 2568
  • 09:51
  • พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง

#วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไร

#พี่น้องวัสดุกลับมาเล่า

วันนี้ เราได้พี่พิมุกต์ Mat-E18, E71, KU75 มาแชร์อีกสายงานของชาววิศวกรรมวัสดุ ได้แก่งานทางด้านวิศวกรรมการกัดกร่อนและการป้องกัน ที่ถือว่าเป็นสายงานสำคัญของโครงสร้างสาธารณูปโภค เครื่องจักร โรงงาน ชิ้นส่วนต่างๆ ที่ต้องมีวิศวกรคอยตรวจสอบ ดูแล วางแผน เพื่อให้การใช้งานปลอดภัยตลอดอายุการใช้งาน

พี่พิมุกต์ ทำงานในส่วนของ Cathodic Protection Technician ที่ผ่านการอบรมมาตรฐานสากลของ NACE : National Association of Corrosion Engineers ทำงานรับผิดชอบในงานควบคุมระบบการป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก (มาเรียนหลักพื้นฐานที่ภาคเราได้ครับ) สำหรับระบบโครงสร้างใต้ดินและใต้น้ำ ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานสำคัญในกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเลียมและปิโตรเคมี เช่น ระบบท่อก๊าซใต้ดิน

เราลองไปรู้จักสายงานด้านนี้จากพี่พิมุกต์กันครับ

#############

#MatE_KU : สวัสดีครับ กวนพี่พิมุกต์ช่วยแนะนำตัวด้วยครับ

#พี่พิมุกต์ : ผมชื่อ พิมุกต์ ขำวรุณ จบจากภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ รุ่น MAT-E 18 รุ่น KU75 และวิศวกรรมศาสตร์รุ่น E71 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครับ

#MatE_KU : พอจะแนะนำสายงานที่ทำอยู่ปัจจุบันได้ไหมครับ

#พี่พิมุกต์ : ปัจจุบันทำงานที่ บริษัท CPE Engineering and Service ในตำแหน่ง Cathodic Protection Technician (NACE CP2) และ Business Development

โดยในส่วนงาน จะรับผิดชอบงานด้านการสำรวจ ตรวจสอบ วิเคราะห์ และซ่อมแซมระบบการป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก หรือ Cathodic Protection (CP) สำหรับโครงสร้างใต้ดินและใต้น้ำ รวมถึงการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างต่อเนื่องครับ

#MatE_KU : ในสายงานที่ทำอยู่ ได้ใช้ความรู้ที่เรียนจากภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ อย่างไรบ้างครบั

#พี่พิมุกต์ : จากการเรียนในภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ วิชาที่ได้ใช้จริงในการทำงาน เช่น การกัดกร่อน (Corrosion), โลหะวิทยากายภาพ (Physical Metallurgy) และ วัสดุและอุปกรณ์ทางไฟฟ้าแม่เหล็กแสง (Electromagnetooptic Materials and Devices) ช่วยให้ผมเข้าใจการทำงานของระบบ Cathodic Protection ในเชิงลึกได้ดีครับ เพราะเทคนิคการป้องกันการกัดกร่อนนี้ ต้องมีความรู้พื้นฐานด้าน โลหะวิทยา การกัดกร่อน รวมไปถึงสมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ เนื่องจากเป็นการใช้แหล่งพลังงานไฟฟ้ามาป้องกันการกัดกร่อน ครับ

ดังนั้น การเรียนรายวิชาเหล่านี้ในหลักสูตร ทำให้เรามีพื้นฐานที่พร้อมเรียนรู้ต่อยอดในสายงาน ทั้งในด้านการป้องกันการกัดกร่อน สมบัติของโลหะ และ การทำงานทางไฟฟ้าในวัสดุต่างๆ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการตรวจสอบ วิเคราะห์ และให้คำปรึกษาด้านเทคนิคได้อย่างมั่นใจ

อีกทั้งการได้เข้าร่วมกิจกรรมและเรียนวิชาที่เกี่ยวกับนวัตกรรมที่ปูพื้นฐานหลัก Design Thinking ทำให้ช่วยเสริม ทัศนคติที่เปิดกว้าง และ ความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งพัฒนา ทักษะคิดเชิงนวัตกรรม ช่วยให้เราต่อยอดความรู้ได้ดีขึ้นในงานด้าน Business Development และ สามารถมองเห็นแนวทางใหม่ๆ ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพครับ

#MatE_KU : พี่พิมุกต์มีคำแนะนำสำหรับน้องๆ ที่สนใจสายงานด้านนี้ ให้เตรียมพร้อมอย่างไรดีครับ

#พี่พิมุกต์ : ในสายงาน Cathodic Protection ควรเตรียมความพร้อมในด้านพื้นฐานทางไฟฟ้าเคมี (Electrochemistry) หลักการกัดกร่อน พื้นฐานโลหะการ โครงสร้างอิเล็กทรอนิกส์ของวัสดุ การนำไฟฟ้าในวัสดุ การคัดเลือกวัสดุและการออกแบบทางวิศวกรรม รวมถึงการวิเคราะห์ความวิบัติและการป้องกัน ซึ่งพื้นฐานที่พูดมาเหล่านี้ ดูเหมือนจะหลากหลาย แต่ภาควิชาฯเรามีเปิดสอนให้หมดครับ

ส่วนทักษะที่ควรมีคือทัศนคติที่เปิดกว้างพร้อมเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถรับมือกับสถานการณ์ใหม่ๆ และหาวิธีแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ครับ ซึ่งสามารถเก็บเกี่ยวได้จาก กิจกรรมเสริมที่ภาควิชาฯมีเตรียมให้ รวมไปถึงรายวิชาด้าน Innovative Thinking ครับ

###############

ขอบคุณพี่พิมุกต์ ที่สละเวลามาแชร์สายงานที่น่าสนใจให้น้องๆนะครับ พี่พิมุกต์ได้ไปเยี่ยมน้องๆที่ระยองตอนรับน้องปีหนึ่งเมื่อปีที่ผ่านมา ก็ได้เจอกับพี่ๆคนอื่นๆที่กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและปิโตรเลียม ก็ล้วนได้ใช้บริการบริษัทพี่พิมุกต์สำหรับระบบ Cathodic Protection เพราะถือเป็นระบบสำคัญของการป้องกันการกัดกร่อนในโรงงานเลยครับ

พี่พิมุกต์ระหว่างเรียน พี่บอกว่าแรกๆจะไม่ค่อยพูดเยอะ แต่พอได้เริ่มเข้าร่วมกิจกรรมแข่งขันทางนวัตกรรม อบรมกิจกรรม design thinking ก็ทำให้สนุกไปกับการทำงานกับทีม และสนุกกับการได้แสดงความเห็นแลกเปลี่ยนกับเพื่อน พี่พิมุกต์เลยแนะนำน้องๆให้ร่วมกิจกรรมเยอะๆ เพื่อผลักดันศักยภาพตัวเองที่ซ่อนอยู่ครับ

ขอบคุณอีกครั้งครับ แล้วไว้เจอกันตามสถานอบรมด้านการกัดกร่อนนะครับ อาจจะได้ไปเป็นลูกศิษย์พี่พิมุกต์

#วิศวกรรมวัสดุพร้อมบวก#MatE_KU_Plus

#วิศวกรรมวัสดุ#เกษตรศาสตร์

#ศิษย์เก่า#alumni

  • FacebookFacebook
  • XX
  • LINELine
PrevPreviousพี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง
Nextพี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้างNext

ค้นหาบทความ

คีย์เวิร์ดยอดนิยม

หมวดหมู่

ทั้งหมด รายการ

ไม่พบรายการ

โหลดเพิ่ม

บทความล่าสุด

ดูทั้งหมด »

พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง

8 เมษายน 2568 10:01

พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง

18 มีนาคม 2568 11:01

พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง

4 กุมภาพันธ์ 2568 09:51

ประเภทบทความ

  • ไม่ระบุหมวดหมู่
  • พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง

บทความเก่า

  • Archives

    • [—]2025 (3)
      • เมษายน (1)
      • มีนาคม (1)
      • กุมภาพันธ์ (1)
    • [+]2024 (20)
      • ธันวาคม (2)
      • กันยายน (1)
      • สิงหาคม (5)
      • มิถุนายน (2)
      • พฤษภาคม (2)
      • เมษายน (1)
      • มีนาคม (3)
      • กุมภาพันธ์ (1)
      • มกราคม (3)
    • [+]2023 (5)
      • ธันวาคม (3)
      • พฤศจิกายน (2)
    • [+]2018 (1)
      • กรกฎาคม (1)
    • [+]2017 (1)
      • ตุลาคม (1)
    • [+]2015 (4)
      • เมษายน (4)
  • แท็กบทความ

    glass ceramics Japan ญี่ปุ่น พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง ม.เกษตร วิศวะวัสดุ วิศวะวัสดุ เกษตร เด็กวิศวะ เด็กวิศวะวัสดุ เรียนอะไรดี

    บทความที่น่าสนใจ

    489323977_1172903127961552_7157794286164064393_n
    พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง
    8 เมษายน 2568
    10:01
    484951901_1156042942980904_4879127371739468016_n
    พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง
    18 มีนาคม 2568
    11:01
    471443953_1096880765563789_7659229830392110173_n
    พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง
    26 ธันวาคม 2567
    14:16
    461448269_1033463818572151_7345044506422452680_n
    พี่น้องวัสดุเล่าสู่กันฟัง : วิศวกรรมวัสดุจบแล้วทำงานอะไรบ้าง
    27 กันยายน 2567
    14:30
    ไม่พบรายการ
    •   แผนผังเว็บไซต์
    • เงื่อนไขการใช้งานเว็บไซต์
    • ข้อตกลงด้านสิทธิ์ใช้งาน
    • นโยบายความเป็นส่วนตัว
    •   แผนผังเว็บไซต์
    • เงื่อนไขการใช้งานเว็บไซต์
    • ข้อตกลงด้านสิทธิ์ใช้งาน
    • นโยบายความเป็นส่วนตัว

    ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    อาคารชูชาติ กำภู, 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
    โทร : (+66) 02 797 0999 ต่อ 2102-4

    Facebook Youtube Instagram X-twitter Envelope Phone
    •   Kasetsart University
    •   Faculty of Engineering, KU
    •   Materials Innovation Center (MIC)
    •   Kasetsart University
    •   Faculty of Engineering, KU
    •   Materials Innovation Center (MIC)
    Copyright © 2022-2024, Department of Materials Engineering, Faculty of Engineering, Kasetsart University.

    ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

    อาคารชูชาติ กำภู, 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
    โทร : (+66) 02 797 0999 ต่อ 2102-4

    Facebook Youtube Instagram X-twitter Envelope Phone
    •   Kasetsart University
    •   Faculty of Engineering, KU
    •   Materials Innovation Center (MIC)
    •   Kasetsart University
    •   Faculty of Engineering, KU
    •   Materials Innovation Center (MIC)
    •   แผนผังเว็บไซต์
    • เงื่อนไขการใช้งานเว็บไซต์
    • ข้อตกลงด้านสิทธิ์ใช้งาน
    • นโยบายความเป็นส่วนตัว
    •   แผนผังเว็บไซต์
    • เงื่อนไขการใช้งานเว็บไซต์
    • ข้อตกลงด้านสิทธิ์ใช้งาน
    • นโยบายความเป็นส่วนตัว
    Copyright © 2022-2024, Department of Materials Engineering, Faculty of Engineering, Kasetsart University.

    Research Platform

    หลักสูตร Courses

    Facebook

    Youtube

    ศูนย์นวัตกรรมวัสดุ MIC

    สนใจเข้าศึกษา Prospective

    คีย์เวิร์ดยอดนิยม

    หมวดหมู่

    ทั้งหมด รายการ

    ไม่พบรายการ

    ผลการค้นหาทั้งหมด
    เมนูหลัก
    •   หน้าหลัก
    • เกี่ยวกับเรา
      • รู้จักวิศวกรรมวัสดุ
      • สารจากผู้บริหาร
      • ประวัติภาควิชา
      • วิสัยทัศน์และพันธกิจ
      • ความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ
      • บทความเกี่ยวกับวิศวกรรมวัสดุ
    • บุคลากร
    • หลักสูตร
      • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมวัสดุ (Undergraduate)
      • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเซมิคอนดักเตอร์ (Undergraduate)
      • ปริญญาโท (Master)
      • ปริญญาเอก (Doctorate)
    • งานวิจัย
      • Research Platform
      • ข่าววิจัย
      • รางวัลและประกาศเกียรติคุณ
      • กิตติกรรมประกาศภาควิชา
      • ปริญญานิพนธ์
    • ศูนย์นวัตกรรมวัสดุ
      • เกี่ยวกับเรา
      • สิ่งอำนวยความสะดวก
      • บริการด้านการวิจัย
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • ติดต่อเรา
    เมนูลัด
    • แบบฟอร์ม
    • แกลเลอรี่
    • ข้อร้องเรียน
    • เว็บบอร์ด
    • สำหรับผู้สนใจเข้าศึกษา
    • สำหรับนิสิตปัจจุบัน
    • สำหรับนิสิตเก่า
    • สำหรับบุคลากร