Assoc. Prof. Parinya Chakartnarodom
รองศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา ฉกาจนโรดม
Contact Info
Contact Number: 2102-4
Staff ID: E1602
Academic Background
– M.S. (Materials Science and Engineering), Michigan Technological University, USA
– Ph.D. (Materials Science and Engineering), Michigan Technological University, USA
-
ResearchInterests
-
Research Publications& Innovation
-
ResearchTeam Members
-
Research Team Awards & Activities
-
Academic & Industrial Collaborations
Research Interests
No Record Found
Jump to: Research Publications | Research Innovation
Research Publications
- Chakartnarodom P, Polsilapa S, Prakaypan W, Ineure P, Chuankrerkkul N, Laitila EA, Kongkajun N. (2024) Upcycling low-grade coal fly ash for the production of fly ash fibers and their applications in fiber-reinforced cement composites. Construction and Building Materials 414. 10.1016/j.conbuildmat.2024.134880
- Nithipaiboon J, Prakaypan W, Chakartnarodom P, Laitila EA, Kongkajun N. (2023) Effect of aluminum hybrid additive on water absorption of fiber-cement composites. Science, Engineering and Health Studies
- Chakartnarodom P, Sonprasarn P, Polsilapa S, Kongkajun N, Laitila EA, Prakaypan W. (2023) The influence of water-cement ratios and aluminosilicate based accelerator on the properties of fiber-reinforced cement composites. Journal of Metals, Materials and Minerals 33:75-80. 10.55713/v33i2.1633
- Sonprasarn P, Prakaypan W, Polsilapa S, Kongkajun N, Laitila EA, Chuankrerkkul N, Chakartnarodom P. (2022) The influence of different crystal modifiers on ultra-low embodied energy curing fiber-reinforced cement composites. Journal of Metals, Materials and Minerals 32:93-100. 10.55713/v32i3.1521
- Kumpa J, Ineure P, Chakartnarodom P, Cherdhirunkorn B, Laitila EA, Kongkajun N. (2022) Recycling of exhausted dust from regenerator of glass furnace in glass batch melting. Journal of Metals, Materials and Minerals 32:50-55. 10.55713/v32i2.1263
- Deeprasertwong E, Ineure P, Kongkajun N, Borwornkiatkaew W, Laitila EA, Chuankrerkkul N, Chakartnarodom P, editors. Properties of the glass formed from ground glass cullet via sintering. Materials Today: Proceedings;
- Chakartnarodom P, Wanpen S, Prakaypan W, Laitila EA, Kongkajun N. (2022) Development of High-Performance Fiber Cement: A Case Study in the Integration of Circular Economy in Product Design. Sustainability (Switzerland) 10.3390/su141912263
- Sonprasarn P, Chakartnarodom P, Kongkajun N, Prakaypan W, editors. Microstructure and mechanical performance of fiber-reinforced cement composites made with nucleating-agent activated coal-fired power plant bottom ash. Solid State Phenomena;
- Pahuswanno P, Chakartnarodom P, Kongkajun N, Prakaypan W, editors. Feasibility study of using modified recycled fiber-cement for the production of high performance fiber-cement composites. Solid State Phenomena;
- Kongkajun N, Laitila EA, Ineure P, Prakaypan W, Cherdhirunkorn B, Chakartnarodom P. (2020) Soil-cement bricks produced from local clay brick waste and soft sludge from fiber cement production. Case Studies in Construction Materials 10.1016/j.cscm.2020.e00448
- Chakartnarodom P, Prakaypan W, Ineure P, Chuankrerkkul N, Laitila EA, Kongkajun N. (2020) Properties and performance of the basalt-fiber reinforced texture roof tiles. Case Studies in Construction Materials 10.1016/j.cscm.2020.e00444
- Sonprasarn P, Chakartnarodom P, Ineure P, Prakaypan W. (2019) Effects of the chemical treatment on coal-fired bottom ash for the utilization in fiber-reinforced cement. Journal of Metals, Materials and Minerals 29:55-60. 10.14456/2019.47
- Pahuswanno P, Chakartnarodom P, Ineure P, Prakaypan W. (2019) The influences of chemical treatment on recycled rejected fiber cement used as fillers in the fiber cement products. Journal of Metals, Materials and Minerals 29:66-70. 10.14456/2019.36
- Kongkajun N, Cherdhirunkorn B, Borwornkiatkaew W, Chakartnarodom P. (2019) Utilization of aluminium buffing dust as a raw material for the production of mullite. Journal of Metals, Materials and Minerals 29:71-75. 10.14456/2019.37
- Chakartnarodom P, Kongkajun N, Chuankrerkkul N, Ineure P, Prakaypan W. (2019) Reducing water absorption of fiber-cement composites for exterior applications by crystal modification method. Journal of Metals, Materials and Minerals 29:90-98. 10.14456/2019.51
- Chakartnarodom P, Prakaypan W, Ineure P, Kongkajun N, Chuankrerkkul N, editors. Feasibility study of using basalt fibers as the reinforcement phase in fiber-cement products. Key Engineering Materials;
- Kaewwichit P, Junsomboon J, Chakartnarodom P, Tippayasam C, Srichumpong T, Thavorniti P, et al. (2017) Development of microwave-assisted sintering of Portland cement raw meal. Journal of Cleaner Production 142:1252-1258. 10.1016/jclepro.2016.07.009
- Chakartnarodom P, Kongkajun N, Prakaypan W, editors. X-ray diffraction analysis of ZnO particles prepared by microwave plasma. Key Engineering Materials;
- Chakartnarodom P, Kongkajun N, Laitila EA, editors. Influence of scanning parameters on X-ray diffraction peaks of copper. Key Engineering Materials;
- Kongkajun N, Chakartnarodom P, Borwornkiatkaew W, editors. The fabrication of refractory cordierite from aluminium buff mixture. Key Engineering Materials;
- Chakartnarodom P, Kongkajun N, Chuankrerkkul N, editors. Powder Injection molding of mullite: The study of binder dissolution behavior during debinding step using statistical methods. Key Engineering Materials;
- Chakartnarodom P, Kongkajun N, Chuankrerkkul N, editors. Powder injection molding of mullite: The study of mechanical and physical properties of the sintered products using statistical methods. Key Engineering Materials;
- Chakartnarodom P, Kongkajun N, Senthongkaew P, editors. Application of numerical method and statistical analysis in the integrated intensity calculation of the peaks from the X-ray diffraction (XRD) pattern of α-iron. Key Engineering Materials;
- Chakartnarodom P, Kongkajun N, Chuankrerkkul N, editors. Application of statistical analysis in the powder injection molding (PIM) of mullite. Key Engineering Materials;
- Chakartnarodom P, Ineure P, editors. Foam glass development using glass cullet and fly ash or rice husk ash as the raw materials. Key Engineering Materials;
- Chakartnarodom P, Chuankrerkkul N, editors. Statistical analysis of binder behavior during debinding step in Powder Injection Molding (PIM). Advanced Materials Research;
- Chuankrerkkul N, Chakartnarodom P, editors. Fabrication of injection moulded 304l stainless steels reinforced with tungsten carbide particles. Materials Science Forum;
Research Innovation
- กรรมวิธีการสังเคราะห์อนุภาคสังกะสีออกไซด์โดยใช้พลาสมาที่สร้างขึ้นด้วยคลื่นไมโครเวฟ (TRL ระดับ 6)
- สูตรผสมแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ที่มีเถ้าหนักเป็นส่วนผสม (TRL ระดับ 6)
- สูตรผสมกระเบื้องหลังคาที่มีเส้นใยบะซอลต์เป็นส่วนผสม (TRL ระดับ 6)
- สูตรผสมครอบหลังคาที่มีเส้นใยบะซอลต์เป็นส่วนผสม (TRL ระดับ 6)
- อุปกรณ์ใส่สารตัวอย่างสำหรับเครื่องวัดการเลี้ยวเบนของลำรังสีเอ็กซ์ (TRL ระดับ 6)
- กรรมวิธีการผลิตเส้นใยจากหินบะซอลต์ (TRL ระดับ 6)
- สูตรผสมแผ่นซีเมนต์เสริมแรงที่มีเส้นใยบะซอลต์เป็นส่วนผสม (TRL ระดับ 6)
- เครื่องสร้างพลาสมาโดยใช้คลื่นไมโครเวฟ (TRL ระดับ 6)
- อุปกรณ์วัดอุณหภูมิประเภทเทอร์โมคัปเปิล (Thermocouple) (TRL ระดับ 6)
- สูตรผสมแผ่นซีเมนต์เสริมแรงที่มีเศษวัสดุก่อสร้างเป็นส่วนผสม (TRL ระดับ 6)
- เส้นใยบะซอลต์ที่สามารถทนสภาวะความเป็นด่างสูง (TRL ระดับ 6)
- เส้นใยอนินทรีย์ที่สามารถทนสภาวะความเป็นด่างสูง (TRL ระดับ 6)
- สูตรผสมซีเมนต์ที่ประกอบด้วยวัสดุธรรมชาติสำหรับใช้ผลิตวัสดุก่อสร้างที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันเสียงและฉนวนกันความร้อน (TRL ระดับ 6)
- สูตรผสมแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์ที่มีเศษไฟเบอร์ซีเมนต์เป็นส่วนผสม (TRL ระดับ 6)
- เตาเผาผนึกโลหะโดยใช้ไมโครเวฟเป็นแหล่งพลังงานความร้อน (TRL ระดับ 6)
Jump to: Research Team Members | Research Team Alumni
Research Team Members
Research Team Alumni
Jump to: Research Team Awards | Research Team Activities
Research Team Awards
ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2562
เกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2562
Best Poster Award for the poster presentation in Ceramics Session
ผลงานเรื่อง Reducing Water Absorption of Fiber-Cement Composites for Exterior Applications by Crystal Modification Method
ชื่อรางวัล Best Poster Award for the poster presentation in Ceramics Session
จากงานประชุมวิชาการ 10th International Conference on Materials Science and Technology (MSAT-10), September 6th-7th, 2018, Bangkok, Thailand
วันที่/เดือน/ปีที่ได้รับรางวัล 7 กันยายน 2561
หน่วยงานที่ให้รางวัล National Metal and Materials Technology Center (MTEC)
Best Poster Award for the poster presentation in Materials Technology for Environment Session
ผลงานเรื่อง The Influences of Chemical Treatment on Recycled Rejected Fiber Cement Used as Fillers in the Fiber Cement Products
ชื่อรางวัล Best Poster Award for the poster presentation in Materials Technology for Environment Session จากงานประชุมวิชาการ 10th International Conference on Materials Science and Technology (MSAT-10), September 6th-7th, 2018, Bangkok, Thailand
วันที่/เดือน/ปีที่ได้รับรางวัล 7 กันยายน 2561
หน่วยงานที่ให้รางวัล National Metal and Materials Technology Center (MTEC)
Best Poster Award-Second Runner Up จากงานประชุมวิชาการ International Conference on Traditional and Advanced Ceramics 2015 (ICTA2015), Bangkok, Thailand
ผลงานเรื่อง Powder Injection Molding of Mullite: The Study of Mechanical and Physical Properties of the Sintered Products using Statistical Methods
ชื่อรางวัล Best Poster Award-Second Runner Up จากงานประชุมวิชาการ International Conference on Traditional and Advanced Ceramics 2015 (ICTA2015), Bangkok, Thailand
วันที่/เดือน/ปีที่ได้รับรางวัล 9 กันยายน 2558
หน่วยงานที่ให้รางวัล National Metal and Materials Technology Center (MTEC)
Best Poster Award-First Runner Up จากงานประชุมวิชาการ International Conference on Traditional and Advanced Ceramics 2015 (ICTA2015), Bangkok, Thailand
ผลงานเรื่อง Powder Injection Molding of Mullite: The Study of Binder Dissolution Behavior during Debinding Step using Statistical Methods
ชื่อรางวัล Best Poster Award-First Runner Up จากงานประชุมวิชาการ International Conference on Traditional and Advanced Ceramics 2015 (ICTA2015), Bangkok, Thailand
วันที่/เดือน/ปีที่ได้รับรางวัล 9 กันยายน 2558
หน่วยงานที่ให้รางวัล National Metal and Materials Technology Center (MTEC)
Best Poster Award-First Runner Up
ผลงานเรื่อง The Fabrication of Refractory Cordierite from Aluminium Buff Mixture
ชื่อรางวัล Best Poster Award-First Runner Up จากงานประชุมวิชาการ International Conference on Traditional and Advanced Ceramics 2015 (ICTA2015), Bangkok, Thailand
วันที่/เดือน/ปีที่ได้รับรางวัล 9 กันยายน 2558
หน่วยงานที่ให้รางวัล National Metal and Materials Technology Center (MTEC)
Best Poster Award
ผลงานเรื่อง Application of Numerical Method and Statistical Analysis in the Integrated Intensity Calculation of the Peaks from the X Ray Diffraction (XRD) Pattern of alpha Iron
ชื่อรางวัล Best Poster Award จากงานประชุมวิชาการ 8th International Conference on Materials Science and Technology (MSAT-10), December 15th-16th, 2557, Bangkok, Thailand
วันที่/เดือน/ปีที่ได้รับรางวัล 16 ธันวาคม 2557
หน่วยงานที่ให้รางวัล National Metal and Materials Technology Center (MTEC)
รางวัลเหรียญเงิน
ผลงานเรื่อง “อิทธิพลของการบ่มด้วยแสงอาทิตย์ที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลของวัสดุเชิงประกอบซีเมนต์” รางวัลเหรียญเงินจากการประกวดนวัตกรรม ในงานมหกรรมงานวิจัย แห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022)
รางวัลเหรียญทองแดง
ผลงานเรื่อง “การปรับปรุงประสิทธิภาพในการต้านเชื้อจุลชีพและสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของวัสดุผสมซีเมนต์เชิงประกอบด้วยสารอลูมิเนียม-สังกะสี” รางวัลเหรียญทองแดงจากการประกวดนวัตกรรม และ รางวัลดีเด่นจากการประกวดข้อเสนอโครงการผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ในงานมหกรรมงานวิจัย แห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022)
รางวัลชนะเลิศ
Thailand Green Design Awards 2022 ผลงานเรื่อง “การปรับปรุงประสิทธิภาพในการต้านเชื้อจุลชีพและสมรรถนะด้านต่าง ๆ ของวัสดุผสมซีเมนต์เชิงประกอบด้วยสารอลูมิเนียม-สังกะสี”
รางวัลชนะเลิศ
ผลงานเรื่อง “ผลกระทบการใช้กระบวนการไฮโดรเทอร์มอลร่วมกับกระบวนการทางเคมีในการปรับปรุงเถ้าลอยที่ได้จากการเผาขยะต่อสมบัติของวัสดุประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์ที่เสริมแรงด้วยเส้นใย” รางวัลชนะเลิศ Thailand Green Design Award 2021 ในกลุ่มการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Resource efficiency)
รางวัลรองชนะเลิศ
ผลงานเรื่อง “Innovative cement composites with ultra-low embodied energy for the green architecture” รางวัลรองชนะเลิศ Thailand Green Design Award 2021 ในกลุ่มประหยัดพลังงาน
รางวัลเหรียญทอง
ผลงานเรื่อง “การเพิ่มมูลค่าวัสดุเหลือใช้จากอุตสาหกรรมการเกษตรในผลิตภัณฑ์ไฟเบอร์ซีเมนต์” รางวัลเหรียญทองจากการประกวด Thailand New Gen Inventors Award 2020
รางวัลเหรียญทอง
การประกวด Thailand New Gen Inventors Award 2020 ผลงานเรื่อง “อิทธิพลของไอน้ำควบแน่นเหลือทิ้งจากออโตเคลฟที่มีต่อสมบัติทางกายภาพและเชิงกลของวัสดุประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์สมรรถนะสูง”
รางวัลชมเชย
การประกวด Thailand Green Design Awards 2020 ประเภทประหยัดพลังงานและนวัตกรรมสีเขียว (Energy Saving and Green Innovations) ผลงานเรื่อง “อิทธิพลของไอน้ำควบแน่นเหลือทิ้งจากออโตเคลฟที่มีต่อสมบัติทางกายภาพและเชิงกลของวัสดุประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์สมรรถนะสูง”
รางวัลเหรียญเงิน
การประกวด Thailand New Gen Inventors Award 2020 ผลงานเรื่อง “การใช้ประโยชน์จากเศษแก้วบดจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ในวัสดุเชิงประกอบซีเมนต์เสริมแรงด้วยเส้นใย”
รางวัลชมเชย
การประกวด Thailand Green Design Awards 2020 ประเภทการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Resource Efficiency) ผลงานเรื่อง “การใช้ประโยชน์จากเศษแก้วบดจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ในวัสดุเชิงประกอบซีเมนต์เสริมแรงด้วยเส้นใย”
รางวัลชนะเลิศ
โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์ชิงทุนการศึกษา Go Further Innovator Scholarship 2018 ระดับอุดมศึกษา จัดโดย ฟอร์ด ประเทศไทย สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน และ บริษัท ทีวีบูรพา จำกัด เมื่อวันที่ 24 พฤษจิกายน 2561 ณ สนามแข่งรถปทุมธานีสปีดเวย์ ผลงานเรื่อง “สีเรืองแสงเพื่อความปลอดภัยที่ดีขึ้นและยั่งยืน”
รางวัลระดับ ดีมาก
การประกวดข้อเสนอโครงการผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 ในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019) จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผลงานเรื่อง “สีเรืองแสงเพื่อความปลอดภัยที่ดีขึ้นและยั่งยืน”
รางวัลเหรียญเงิน
การประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 ในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019) จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผลงานเรื่อง “สีเรืองแสงเพื่อความปลอดภัยที่ดีขึ้นและยั่งยืน”
รางวัลชนะเลิศ
การประกวดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Thailand Green Design Awards 2019 ประเภทประหยัดพลังงาน (Energy Saving) กลุ่ม นักเรียน นิสิต นักศึกษา จัดโดย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (KAPI) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้รับรางวัลเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2562 ผลงานเรื่อง “การนำความร้อนปล่อยทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิตวัสดุเชิงประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์”
รางวัลระดับ ดี
การประกวดข้อเสนอโครงการผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 ในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019) จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผลงานเรื่อง “การนำความร้อนปล่อยทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิตวัสดุเชิงประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์”
รางวัลเหรียญเงิน
การประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 ในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019) จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผลงานเรื่อง “การนำความร้อนปล่อยทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิตวัสดุเชิงประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์”
รางวัลเหรียญเงิน
การประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 ในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019) จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผลงานเรื่อง “การใช้เถ้าหนักจากโรงไฟฟ้าถ่านหินเป็นวัตถุดิบทดแทนทรายธรรมชาติในวัสดุประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์สมรรถนะสูง”
รางวัลเหรียญเงิน
การประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2562 ในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019) จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ผลงานเรื่อง “การนำเศษวัสดุไฟเบอร์ซีเมนต์กลับมาใช้เป็นสารตัวเติมในวัสดุประกอบไฟเบอร์ซีเมนต์สมรรถนะสูง”
รางวัลชมเชย
การประกวดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Thailand Green Design Awards 2019 ประเภทประหยัดพลังงาน (Energy Saving) กลุ่ม นักเรียน นิสิต นักศึกษา จัดโดย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (KAPI) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้รับรางวัลเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2562 ผลงานเรื่อง “ปูนซีเมนต์ไฮดรอลิกสูตรใหม่ใส่ใจโลก”
Research Team Activities
Jump to: Academic Collaborations | Industrial Collaborations
Academic Collaborations
No Record Found
Industrial Collaborations
No Record Found